หลักสูตรอบรมมาตรฐาน 2 วัน ผู้เข้าอบรมลงมือปฏิบัติจริง 2 ท่านต่อ Computer 1 เครื่อง (ตามกรณีศึกษาของ บริษัท ออโต้ไฟล์ท สาธิต) จำกัด
วันแรก ของการอบรมคะ
1. ความรู้พื้นฐาน และภาพรวมของการใช้ระบบบัญชีสำเร็จรูปออโต้ไฟล์ท
· สิ่งที่ควรทราบ เช่น KEYDISK คืออะไร , Thump Key คืออะไร
· การเข้า-ออกจากโปรแกรมอย่าง ถูกวิธี
· Function Key ต่างๆ ของโปรแกรมบัญชีออโต้ไฟล์ท ที่จะช่วยอำนวยความสะดวกระหว่างใช้งาน
· การออกแบบ และตั้งรหัสฐานข้อมูลเพื่อประโยชน์ ต่อการนำข้อมูลไปใช้ในการ บริหารงานและ Data Management หรือการวางแผนเพื่อประโยชน์ในการนำข้อมูลมาใช้ในการวิเคราะห์
· การกำหนดนโยบายบัญชี
· การบำรุงรักษาข้อมูล
2. การบันทึกฐานข้อมูล และความสำคัญของฐานข้อมูลแต่ละระบบ
· ความสำคัญของการใช้ระบบบัญชีสำเร็จรูปบันทึกฐานข้อมูลในทุกระบบ
· วิธีการเตรียมฐานข้อมูลเพื่อบันทึกเข้า ในระบบต่างๆ ได้แก่ ระบบจัดซื้อ
ระบบขาย ระบบลูกหนี้ ระบบเจ้าหนี้ ระบบเช็คและเงินฝากธนาคาร
3. การบันทึกฐานข้อมูล แต่ละระบบ
ทดลองบันทึกข้อมูล จาก Case Study เพื่อให้ผู้รับการอบรม ได้ลงมือ ใช้งานในระบบต่าง ๆได้อย่าง ครบถ้วนได้แก่
· ข้อมูลประจำบริษัท
· ข้อมูลระบบบัญชี
· ข้อมูลสินค้าคงคลัง
· ข้อมูลผู้จำหน่าย
· ข้อมูลลูกหนี้
· ข้อมูลเช็ค และบัญชีเงินฝาก
· ข้อมูลสินทรัพย์
4. การบันทึกยอดยกมาก่อนเริ่มใช้งาน
บันทึกยอดยกมา เพื่อทราบความสัมพันธ์ของยอดยกมาในระบบต่าง ๆ โดยบันทึกจากกิจกรรมซื้อ- ขายในกรณีศึกษา
· บันทึกยอดยกมาต้นงวดของแต่ละบัญชี
· บันทึก INVOICE ขายยกมาต้นงวด
· บันทึกยอดยกมาของลูกหนี้รายตัว โดยแสดงเป็นรายละเอียดแต่ละ INVOICE
· บันทึกยอดยกมาของลูกหนี้แบบรวม
· บันทึก INVOICE ซื้อยกมาต้นงวด
· บันทึกปรับยอดสินค้า/วัตถุดิบ
5. การกำหนดนโยบายบัญชี
6. การบำรุงรักษาข้อมูล
7. การออกแบบฟอร์มเอกสาร และการสั่งพิมพ์แบบฟอร์มพิมพ์
วันที่ 2 ของการอบรม
บันทึกเอกสารรายการค้าต่าง ๆ เข้าในโปรแกรมบัญชีสำเร็จรูปออโต้ไฟล์ท และ วิเคราะห์รายการค้าใน กรณีศึกษา
1. ขั้นตอนการบันทึกเอกสารแต่ละระบบ
บันทึกเอกสารระบบจัดซื้อ
· เพื่อให้ทราบวิธีบันทึก Purchase Order และการจ่ายเงินมัดจำขณะที่มีการับคำสั่งขาย
· สามารถพิมพ์รายงานติดตามยอดสั่งซื้อสินค้า จากใบ Purchase Order
· เพื่อให้ทราบวิธีบันทึก Invoice ทั้งแบบซื้อสดและซื้อเชื่อ โดยสามารถดึงรายการจากที่
เคยสร้างไว้มาได้ทันที
บันทึกเอกสารระบบเจ้าหนี้
· เพื่อให้ทราบวิธีการบันทึกข้อมูลเจ้าหนี้การค้า (AP)
บันทึกเอกสารระบบขาย
· เพื่อให้ทราบวิธีบันทึก SALE QUOTATION (ใบเสนอราคา)
· เพื่อให้ทราบวิธีบันทึก SALE ORDER และการรับเงินมัดจำขณะที่มีการรับคำสั่งขาย
· เพื่อให้ทราบวิธีบันทึก INVOICE ขายสด - เชื่อ ทั้งเแบบดึงรายการจาก SALE ORDER และแบบ ไม่ ดึง SALE ORDER
· เพื่อให้เข้าใจและสามารถบันทึกฐานข้อมูลที่เกี่ยวกับการคีย์ INVOICE ขายได้
· สามารถบันทึกทะเบียน เขตลูกค้าและกลุ่มลูกค้า
· สามารถบันทึกทะเบียนรายชื่อลูกค้า เช่น รหัส ,ชื่อที่อยู่ที่ใช้ออกใบกำกับภาษี , วงเงินเครดิต , ราคาขายตามเกรดของสินค้า
· สามารถบันทึกรายชื่อทีมขาย และพนักงานขาย
· สามารถกำหนดเล่มเอกสารการขาย เลขที่เริ่มต้น และการจับคู่สมุดรายวันกับเล่มเอกสารนั้นๆ
· การกำหนดนโยบายราคาและนโยบายส่วนลด รวมถึงการกำหนดนโยบายเพิ่มเติม
· สามารถทำใบวางบิลทั้งแบบอัตโนมัติและจัดทำเอง
· บันทีกใบเสร็จโดยอ้างถึงใบวางบิลหรือ บันทึกใบเสร็จไม่อ้างถึงใบวางบิล
· บันทึกส่วนลดจ่าย และดอกเบี้ยรับ
· บันทึกใบภาษีหัก ณ ที่จ่ายกรณีเป็นใบเสร็จรับเงิน\ใบกำกับภาษี
บันทึกเอกสารระบบลูกหนี้
· เพื่อให้ทราบวิธีการจัดทำใบวางบิลทั้งแบบอัตโนมัติและจัดทำเอง
· เพื่อให้ทราบวิธีการบันทึกใบเสร็จจ่ายชำระหนี้ และเอกสารที่เกี่ยวข้อง
· บันทีกใบเสร็จโดยอ้างถึงใบวางบิลหรือ บันทึกใบเสร็จไม่อ้างถึงใบวางบิล
· บันทึกส่วนลดจ่าย และดอกเบี้ยรับ
· บันทึกใบภาษีหัก ณ ที่จ่ายกรณีเป็นใบเสร็จรับเงิน/ใบกำกับภาษี
· บันทึกรับชำระหนี้โดยเอกสารธนาคาร เช่น เช็คจ่าย , ถอนโดยการโอนเงินผ่าน ธนาคาร เป็นต้น
· เพื่อให้ทราบวิธีการบันทึกรับคำสั่งซื้อจากลูกค้าและตั้งหนี้ลูกหนี้การค้า
· เพื่อให้ทราบวิธีการบันทึกใบลดหนี้
· เพื่อให้ทราบวิธีบันทึก ใบเพิ่มหนี้ ทั้งกรณีลดหนี้เป็นจำนวนสินค้า และ เฉพาะจำนวนเงิน
· เพื่อให้ทราบวิธีการบันทึกใบลดหนี้ / ใบเพิ่มหนี้ ทั้งกรณีลดหนี้เป็นจำนวนสินค้า และเฉพาะ จำนวนเงิน
บันทึกเอกสารระบบเจ้าหนี้
· สามารถบันทึกทะเบียนรายชื่อเจ้าหนี้การค้า เช่น ชื่อ-ที่อยู่ ,วงเงินเครดิต และเครดิตเทอม เป็นต้น
· สามารถกำหนดเล่มเอกสารการซื้อ เลขที่เริ่มต้น และการจับคู่เล่มเอกสารซื้อกับสมุดรายวันที่จะ ให้ลง · บัญชีอัตโนมัติ
บันทึกเอกสารระบบเช็คและเงินฝากธนาคาร
· เพื่อให้ทราบวิธีการบันทึกเช็คจ่าย
· บันทึกรับชำระหนี้โดยเอกสารธนาคาร เช่น เช็ครับ,ฝากโดยการโอนเงินผ่าน ธนาคาร,ฝากโดย เงินสด
· เพื่อให้ทราบวิธีบันทึกใบนำฝากเช็คเข้าธนาคารหรือ นำเงินสดเข้าธนาคาร(กรณีรับชำระหนี้
จากลูกหนี้การค้า)
· เพื่อให้ทราบวิธีการกลับรายการเช็คจ่าย ที่มีการเบิกถอนเงินออกไปแล้ว · เพื่อให้ทราบวิธีการปรับปรุงเช็ครับที่มีปัญหา (เช่น เช็คคืน , เช็คระบุชื่อผู้รับผิดเป็นต้น)
· เพื่อตรวจสอบรายงาน การนำฝากเช็คเข้าธนาคาร , รายงานตรวจสอบ Bank Statmentใน โปรแกรม
บันทึกเอกสารระบบสินค้าคงคลัง
· การบันทึกข้อมูลระบบสินค้าคงคลัง (IC)
· สามารถบันทึกฐานรายละเอียดของสินค้า เช่น รหัสชื่อของสินค้า การนับยอดสต็อค หน่วยนับ ของสินค้าทั้ง
· หน่วยนับมาตรฐานและหน่วยนับคุมสต็อค เป็นต้น
· สามารถบันทึกฐานข้อมูลของหน่วยนับและกลุ่มสินค้าได้
· สามารถเพิ่มคลังสินค้าและกำหนดประเภทคลังได้ ตามที่ต้องการใช้งาน
· การบันทึกเอกสารการเบิกวัตถุดิบ การรับคืน การรับสินค้า และการโอนสินค้า
· เพื่อให้ทราบวิธีการบันทึกเอกสารสินค้ารับเข้า-จ่ายออก ที่มีผลต่อยอดสต็อค แต่ไม่เกี่ยวกับใบ ของ\ใบกำกับภาษี
· การบันทึกรับสินค้าสำเร็จรูปที่ผลิตได้
· การบันทึกการเบิกวัตถุดิบ และการเบิกวัสดุสิ้นเปลือง
· การบันทึกการโอนสินค้าระหว่างคลัง หรือการโอนสินค้าระหว่างสาขา
· เพื่อให้ทราบวิธีการบันทึกยอดยกมาของสินค้าแสดงรายละเอียดของสินค้าแต่ละตัว
· เพื่อให้ทราบวิธีการบันทึกรับคืนวัตถุดิบ หรือวัสดุสิ้นเปลือง
· เพื่อให้ทราบการบันทึกการตวรจนับสินค้า และการปรับยอดสินค้า
· เพื่อให้สามารถบันทึกรับ-เบิก สินค้าหรือวัตถุดิบ เป็น LOT หรือ เป็น Serial ได้
2.การบันทึกรายวัน 3. ทดลองบันทึกข้อมูล
4. แนะนำการเรียกดูรายงาน แนะนำการเรียกดูรายงาน เช่น
· รายงานติดตามยอดสั่งซื้อสินค้า จากใบSALE ORDER เช่น รายงานสินค้า ค้างส่งแยกตามลูกค้า
· รายงานที่สำคัญของระบบ PO และ AP
· รายงานที่ใช้วิเคราะห์การซื้อที่น่าสนใจ เช่น รายงานใบส่งของแยกตามผู้จำหน่าย ,รายงานตรวจ สินค้า ที่เคยซื้อจากเอกสารการซื้อ , รายงานสรุปยอดซื้อประจำงวดแยกตามผู้จำหน่าย
· รายงานภาษีมูลค่าเพิ่มได้ เช่น รายงานภาษีซื้อรวมยื่นเพิ่มเติม ,
· รายงานภาษีซื้อไม่รวมยื่นเพิ่มเติม รายงานภาษีซื้อตามประกาศกรมสรรพากรฉบับที่ 89
· สามารถพิมพ์รายงานติดตามหนี้ได้ เช่นพิมพ์รายงานใบวางบิลที่ครบกำหนดชำระเงิน ,
รายงานใบส่งของที่ครบกำหนด
· สามารถพิมพ์รายงานวิเคราะห์ลูกหนี้ที่น่าสนใจ เช่น รายงานวิเคราะห์อายุหนี้แบบมีราย
ละเอียด ย้อนวันที่ ,รายงานสถานะเจ้าหนี้,รายงานการ์ดเจ้าหนี้,รายงานเจ้าหนี้หนี้เกินวงเงินเครดิต
· การวิเคราะห์รายงานที่สำคัญของระบบ SO และ AR
· รายงกานวิเคราะห์การขายตามสินค้า ตามลูกค้า ตามพนักงานขายและรายงานรายรับในแต่ละวัน
· เพื่อให้สามารถพิมพ์รายงานภาษีได้ เช่น รายงานภาษีขายรวมยื่นเพิ่มเติม,รายงานภาษีขายไม่ รวมยื่นเพิ่มเติม เป็นต้น
· รายงานติดตามหนี้ เช่นพิมพ์รายงานใบวางบิลที่ครบกำหนดชำระ,พิมพ์รายงานใบส่งของที่ครบหนด
· รายงานวิเคราะห์ลูกหนี้ที่น่าสนใจ เช่น รายงานวิเคราะห์อายุหนี้แบบ มีรายละเอียดย้อนวันที่, รายงานสถานะลูกหนี้ ,รายงานการ์ดลูกหนี้ , รายงานลูกหนี้เกินวงเงินเครดิต
· การวิเคราะห์รายงานที่สำคัญของระบบ CQ
· การเรียกดูรายงานตรวจสอบเช็ครับ และรายงานตรวจสอบเช็คจ่าย
· สามารถเรียกดูรายงานที่ช่วยในการตรวจสอบรายการในระบบเช็ค เช่น รายงาน Bank statement , รายงานการรับเงินต่างๆ
5. สอบถามปัญหา และข้อมูลเพิ่มเติม
|