http://www.autoflight.co.th
สร้างเว็บไซต์Engine by iGetWeb.com

Home

Product

Download

Contact Us

ส่วนหนึ่งของผู้ใช้งาน

SmartBiz Free

สถิติ

เปิดเว็บ08/02/2008
อัพเดท20/05/2023
ผู้เข้าชม4,988,441
เปิดเพจ7,842,797

แหล่งข้อมูลสำหรับผู้บริหารเพื่องานบัญชี.

สรรพากรเปิดให้บริการรับแบบฯ ภ.ง.ด.90 และ ภ.ง.ด.91 ประจ าปีภาษี 2556 นอกสถานที่เพิ่มเติม

1ก.พ.เริ่มใช้เลขผู้เสียภาษี13หลัก

ผู้เสียภาษีที่มีความประสงค์ที่จะยื่นแบบ ภ.ง.ด.90/91 ผ่านอินเทอร์เน็ต

"สรรพากร" เคาะภาษีบุคคลฯ อัตราใหม่ เล็งปรับลดอัตราเพดานการจัดเก็บให้ถี่ขึ้น เพื่อลดช่องว่างในแต่ละช่วงอัตราภาษีให้แคบลง

สปส.ขยายเวลายื่นกู้น้ำท่วมถึงเดือนเมษายน 255

แนวทางการช่วยเหลือโรงงานอุตสาหกรรมที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย

มาตร​การภาษี​เพื่อ​เพิ่มขีด​ความสามารถ​ใน​การ​แข่งขันของประ​เทศ

ผู้บริจาคช่วยเหลือผู้ประสบภัย สามารถหักลดหย่อนในการคำนวณภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดาได้ โดย

มาตรการลดภาษีสรรพสามิตสูงสุด 100,000 บาท

สัมมนาฟรี มุมมองของฟิทช์เกี่ยวกับความเสี่ยงของเศรษฐกิจโลก และแนวโน้มเศรษฐกิจของประเทศไทย

หลักการบันทึกบัญชี : หลักการบันทึกรายการทางบัญชี (Recording transaction)

ธนาคารกรุงไทย เซ็นทรัลเวิลด์ เซ็นทารา แนวหน้า SME นักธุรกิจ แกรนด์ สัมมนาฟรี

กำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล

กรมสรรพากรจับมือศูนย์บริการข้อมูลภาครัฐ 1111 ให้บริการตอบปัญหาภาษีทุกวันตลอด 24 ชั่วโมง

วิธีการขึ้นทะเบียนเป็นผู้ทำบัญชี

ศูนย์บริการข้อมูลสรรพากร (1161) ผ่านช่องทางโทรศัพท์ในระบบ Call Center ได้ตลอด 24 ชั่วโมง

มาตรฐานบัญชีของไทยในปัจจุบัน

แบงก์กรุงไทยแนะรีบชำระภาษีผ่านอินเทอร์เน็ต

การบัญชีบริหาร

สรรพากรใจดีให้คนไทยที่บริจาคช่วยเหลือผู้ประสบภัยที่ญี่ปุ่นได้สิทธิลดหย่อนภาษีด้วย

เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้เสียภาษีอากรและให้การบริหารการจัดเก็บภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรมีประสิทธิภาพ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๑ แห่งประมวลรัษฎากร อธิบดีกรมสรรพากรจึงมีคำสั่งดังต่อไปนี้

แบบแสดงรายการภาษีเงินได้นิติบุคคล

สรรพากรเผยบริจาคช่วยเหลือผู้ประสบภัยที่ญี่ปุ่นขอลดหย่อนภาษีได้

กำหนดการจัดสัมมนาภาษีอากร

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

กรมสรรพากรจัดสัมมนาให้ความรู้แก่ผู้ประกอบธุรกิจ E - Commerce

ปีนี้ยังจำเป็นต้องคงภาษีมูลค่าเพิ่ม ( VAT) ไว้ที่ 7% ก่อน

การประเมินระดับนวัตกรรม SMEs ไทย และแนวทางการพัฒนานวัตกรรมธุรกิจ

บริการรับ ชำระภาษีด้วยบัตรเครดิต

การประกอบกิจการต่อไปนี้ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ

การหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย และการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีการจ่ายรางวัล ส่วนลดหรือประโยชน์ใด ๆ เนื่องจากการส่งเสริมการขาย

ภาษีคณะบุคคล

มาตรการภาษีเพื่อกระตุ้นและฟื้นฟูเศรษฐกิจ

ภาษีคณะบุคคล

การบัญชีต้นทุน

รอบระยะบัญชีของการยื่นภาษีเงินได้นิติบุคคล

ผู้มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ

ในการเสียภาษีจะต้องคำนวณภาษีอย่างไร

การควบคุมภายในเกี่ยวกับ การรับเงิน

ภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีการนำสินค้าที่มีไว้เพื่อขายมาใช้เพื่อการประกอบกิจการ

ภาษีเงินได้นิติบุคคล โปรแกรมบัญชี

รวมคำถามที่ถามบ่อย

สิ่งที่ผู้บริหารมือใหม่ควรทราบเป็นเบี้องต้น

จดทะเบียนนิติบุคคลใหม่ มีคนต่างด้าวถือหุ้นอยู่ !!

กรมสรรพากรขยายเวลารับแบบฯ ภาษีเต่างๆสำหรับบุคคลธรรมดาครึ่งปี ให้กับท้องที่ที่เกิดอุทกภัย

กฎหมายออกใหม่ กรกฎาคม 2550

ข้อหารือภาษีอากร

Tax Point จุดรับผิดทางภาษี

คำถามยอดนิยม RMF LTF

การขอคืนภาษี

รอบระยะบัญชีของการยื่นภาษีเงินได้

การจำหน่ายหนี้สูญ

การขอคัดแบบแสดงรายการภาษี

การยกเลิกใบกำกับภาษีฉบับเดิม แล้วออกฉบับใหม่ ทำอย่างไร

การออกใบแทนใบกำกับภาษี ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้

ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเสียภาษีอากร

ทำไม กิจการต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 7.0

การออกใบกำกับภาษี

ผู้มีหน้าที่ออกใบกำกับภาษี

ประเภทของใบกำกับภาษี

การจัดทำใบกำกับภาษีแบบเต็มรูป

สิทธิของผู้เสียภาษี

ใครบ้างที่ต้องเสียภาษี

กิจการที่ได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตามกฎหมาย

ผู้ประกอบการที่ได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตามกฎหมาย แต่สามารถขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม

กำหนดหลักเกณฑ์ สำหรับเงินได้ที่ได้รับจากการขายทรัพย์สินประเภทเครื่องจักร

กรมสรรพากรเตือนบริษัทห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้นิติบุคคลประจำปี

หน้าที่และความรับผิดของผู้จ่ายเงิน

หน้าที่และความรับผิดของผู้จ่ายเงิน
 
ผู้จ่ายเงินได้ มีหน้าที่และความรับผิดเกี่ยวกับการหักภาษี ณ ที่จ่ายหลายประการที่ต้องคำนึงถึงและทำความเข้าใจ เพื่อให้การปฏิบัติเกี่ยวกับภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายเป็นไปโดยถูกต้อง และครบถ้วน

จึงขอนำมาเป็นประเด็นปุจฉา-วิสัชนา ดังนี้
ปุจฉา โดยภาพรวมผู้จ่ายเงินได้มีหน้าที่เกี่ยวกับการหักภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายอย่างไร
วิสัชนา ผู้จ่ายเงินได้มีหน้าที่เกี่ยวกับภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายดังนี้
     
1. คำนวณหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในกฎหมายโดยเคร่งครัด ซึ่งผู้จ่ายเงินได้ต้องมีความเข้าใจในข้อกำหนดเกี่ยวกับภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายโดยละเอียดในประเด็นต่างๆ ดังนี้
         1.1 มีความเข้าใจบทบัญญัติเกี่ยวกับการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย โดยชัดแจ้งทุกแง่ทุกมุมว่า การจ่ายเงินได้ในกรณีใดต้องคำนวณหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายอย่างไร
         1.2 มีความเข้าใจในหน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้เกี่ยวกับการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
         1.3 มีความเข้าใจว่าต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย เมื่อใด
    
2. นำส่งภาษีหัก ณ ที่จ่าย ไม่ว่าผู้จ่ายเงินได้จะได้หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายไว้หรือไม่ก็ตาม ทั้งนี้ ตามมาตรา 52 แห่งประมวลรัษฎากร
   
3. พร้อมกับการนำส่งภาษีหัก ณ ที่จ่าย ผู้จ่ายเงินได้ต้องยื่นแบบแสดงรายการตามแบบที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด โดยต้องยื่นรายการและนำส่งภาษีภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดจากเดือนที่จ่ายเงินได้ 
         3.1 ภ.ง.ด.1 ใช้สำหรับกรณีภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย เนื่องจากการจ่ายเงินได้ตามมาตรา 40(1) และ (2) แห่งประมวลรัษฎากร  
         3.2 ภ.ง.ด.2 ใช้สำหรับกรณีภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย เนื่องจากการจ่ายเงินได้ตามมาตรา 40(3) และ (4) แห่งประมวลรัษฎากร   
        3.3 ภ.ง.ด.3 ใช้สำหรับกรณีภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย เนื่องจากการจ่ายเงินได้ตามมาตรา 40(5)(6)(7) หรือ (8) แห่งประมวลรัษฎากร   
        3.4 ภ.ง.ด.53 ใช้สำหรับกรณีภาษีเงินได้นิติบุคคลหัก ณ ที่จ่ายตามมาตรา 69 ทวิ และมาตรา 3 เตรส แห่งประมวลรัษฎากร   
         3.5 ภ.ง.ด.54 ส่วน ก ใช้สำหรับกรณีภาษีเงินได้นิติบุคคลหัก ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 70 แห่งประมวลรัษฎากร
    
4. เมื่อสิ้นปีภาษีให้ผู้จ่ายเงินได้ที่ต้องหักภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา มีหน้าที่ต้องยื่นรายการสรุปการจ่ายเงินได้และจำนวนภาษีเงินได้ที่ได้หักและนำส่งไว้ โดยแสดงรายละเอียดเป็นรายบุคคล เฉพาะยอดรวมภาษีที่นำส่งทั้งสิ้น (พร้อมทั้งแนบสำเนาหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายด้วยก็ได้) ตามแบบที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด ภายในกำหนดเวลาดังต่อไปนี้
        (1) ภ.ง.ด.1ก. ใช้สรุปรายการการจ่ายเงินได้และการหักภาษี ณ ที่จ่ายสำหรับเงินได้ตามมาตรา 40(1) และ (2) แห่งประมวลรัษฎากร ภายในเดือนกุมภาพันธ์ของปีถัดจากปีที่จ่ายเงินได้
        (2) ภ.ง.ด.2ก. ใช้สรุปรายการการจ่ายเงินได้และการหักภาษี ณ ที่จ่ายสำหรับเงินได้ตามมาตรา 40(3) และ (4) แห่งประมวลรัษฎากร โดยต้องยื่นรายการดังกล่าว ภายในเดือนมกราคมของปีถัดจากปีที่จ่ายเงินได้
    

5. ผู้จ่ายเงินได้ต้องออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ที่ได้หักไว้แล้วในปีภาษีตามแบบที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด ให้แก่ผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย 2 ฉบับมีข้อความตรงกัน ในกรณีและตามกำหนดเวลาดังต่อไปนี้
        (1) กรณีภาษีหัก ณ ที่จ่ายสำหรับเงินได้ตามมาตรา 40(1) และ (2) แห่งประมวลรัษฎากร ที่ผู้มีเงินได้ทำงานในกิจการของผู้จ่ายเงินได้จนถึงสิ้นปีภาษี ผู้จ่ายเงินได้ต้องออกหนังสือรับรองดังกล่าวให้แก่ผู้มีเงินได้ภายในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ของปีถัดจากปีที่จ่ายเงินได้ แต่ถ้าผู้มีเงินได้คนใดออกจากงานระหว่างปีภาษีผู้จ่ายเงินได้ต้องออกหนังสือรับรองดังกล่าวให้แก่ผู้มีเงินได้คนนั้นภายในหนึ่งเดือนนับแต่วันที่ออกจากงาน
        (2) กรณีภาษีหัก ณ ที่จ่ายสำหรับเงินได้พึงประเมินประเภทอื่นๆ ผู้จ่ายเงินได้ต้องออกหนังสือรับรองดังกล่าวให้แก่ผู้มีเงินได้ในทันทีทุกครั้งที่มีการหักภาษี ณ ที่จ่าย (มาตรา 50 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร)
    
6. ผู้จ่ายเงินได้ต้องจัดทำบัญชีพิเศษแสดงการหักภาษี ณ ที่จ่ายและการนำส่งภาษีที่มีข้อความอย่างน้อยตามแบบที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด โดยต้องกรอกข้อความให้แล้วเสร็จภายใน 3 วันทำการ นับแต่วันถัดจากวันที่มีรายการเกี่ยวกับการหักภาษี ณ ที่จ่าย หรือการนำส่งภาษีเกิดขึ้น และให้ผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายเก็บรักษาบัญชีพิเศษดังกล่าวไว้ไม่น้อยกว่า 5 ปี โดยเก็บไว้ ณ สำนักงานที่มีการจ่ายเงินได้และพร้อมที่จะให้เจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบได้ทันที
    
7. ผู้จ่ายเงินได้ต้องปฏิบัติตามหนังสือแจ้งความของเจ้าพนักงานประเมินที่แจ้งให้ยื่นบัญชีจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(1)(2)(3)(4) และ (7) แห่งประมวลรัษฎากร หรือพยานหลักฐานอันควรแก่เรื่อง เพื่อการตรวจสอบการหักภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ณ ที่จ่าย (มาตรา 51 แห่งประมวลรัษฎากร)

8.ผู้จ่ายเงินได้ต้องมีและใช้เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรและผู้มีหน้าที่หักภาษีเงินได้ณที่จ่ายต้องแจ้งเลขประจำตัวผู้เสียภาษีของผู้ถูกหักภาษีเงินได้ณที่จ่ายลงในแบบแสดงรายการนำส่งภาษีเงินได้หักณที่จ่าย      
 
http://www.accounttothai.com

Tags : หน้าที่และความรับผิดของผู้จ่ายเงิน

view

หน้าแรก

ผลิตภัณฑโปรแกรมบัญชี

Contact Us

view