http://www.autoflight.co.th
สร้างเว็บไซต์Engine by iGetWeb.com

Home

Product

Download

Contact Us

ส่วนหนึ่งของผู้ใช้งาน

SmartBiz Free

สถิติ

เปิดเว็บ08/02/2008
อัพเดท20/05/2023
ผู้เข้าชม4,989,345
เปิดเพจ7,843,972

แหล่งข้อมูลสำหรับผู้บริหารเพื่องานบัญชี.

สรรพากรเปิดให้บริการรับแบบฯ ภ.ง.ด.90 และ ภ.ง.ด.91 ประจ าปีภาษี 2556 นอกสถานที่เพิ่มเติม

1ก.พ.เริ่มใช้เลขผู้เสียภาษี13หลัก

ผู้เสียภาษีที่มีความประสงค์ที่จะยื่นแบบ ภ.ง.ด.90/91 ผ่านอินเทอร์เน็ต

"สรรพากร" เคาะภาษีบุคคลฯ อัตราใหม่ เล็งปรับลดอัตราเพดานการจัดเก็บให้ถี่ขึ้น เพื่อลดช่องว่างในแต่ละช่วงอัตราภาษีให้แคบลง

สปส.ขยายเวลายื่นกู้น้ำท่วมถึงเดือนเมษายน 255

แนวทางการช่วยเหลือโรงงานอุตสาหกรรมที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย

มาตร​การภาษี​เพื่อ​เพิ่มขีด​ความสามารถ​ใน​การ​แข่งขันของประ​เทศ

ผู้บริจาคช่วยเหลือผู้ประสบภัย สามารถหักลดหย่อนในการคำนวณภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดาได้ โดย

มาตรการลดภาษีสรรพสามิตสูงสุด 100,000 บาท

สัมมนาฟรี มุมมองของฟิทช์เกี่ยวกับความเสี่ยงของเศรษฐกิจโลก และแนวโน้มเศรษฐกิจของประเทศไทย

หลักการบันทึกบัญชี : หลักการบันทึกรายการทางบัญชี (Recording transaction)

ธนาคารกรุงไทย เซ็นทรัลเวิลด์ เซ็นทารา แนวหน้า SME นักธุรกิจ แกรนด์ สัมมนาฟรี

กำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล

กรมสรรพากรจับมือศูนย์บริการข้อมูลภาครัฐ 1111 ให้บริการตอบปัญหาภาษีทุกวันตลอด 24 ชั่วโมง

วิธีการขึ้นทะเบียนเป็นผู้ทำบัญชี

ศูนย์บริการข้อมูลสรรพากร (1161) ผ่านช่องทางโทรศัพท์ในระบบ Call Center ได้ตลอด 24 ชั่วโมง

มาตรฐานบัญชีของไทยในปัจจุบัน

แบงก์กรุงไทยแนะรีบชำระภาษีผ่านอินเทอร์เน็ต

การบัญชีบริหาร

สรรพากรใจดีให้คนไทยที่บริจาคช่วยเหลือผู้ประสบภัยที่ญี่ปุ่นได้สิทธิลดหย่อนภาษีด้วย

เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้เสียภาษีอากรและให้การบริหารการจัดเก็บภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรมีประสิทธิภาพ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๑ แห่งประมวลรัษฎากร อธิบดีกรมสรรพากรจึงมีคำสั่งดังต่อไปนี้

แบบแสดงรายการภาษีเงินได้นิติบุคคล

สรรพากรเผยบริจาคช่วยเหลือผู้ประสบภัยที่ญี่ปุ่นขอลดหย่อนภาษีได้

กำหนดการจัดสัมมนาภาษีอากร

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

กรมสรรพากรจัดสัมมนาให้ความรู้แก่ผู้ประกอบธุรกิจ E - Commerce

ปีนี้ยังจำเป็นต้องคงภาษีมูลค่าเพิ่ม ( VAT) ไว้ที่ 7% ก่อน

การประเมินระดับนวัตกรรม SMEs ไทย และแนวทางการพัฒนานวัตกรรมธุรกิจ

บริการรับ ชำระภาษีด้วยบัตรเครดิต

การประกอบกิจการต่อไปนี้ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ

การหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย และการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีการจ่ายรางวัล ส่วนลดหรือประโยชน์ใด ๆ เนื่องจากการส่งเสริมการขาย

ภาษีคณะบุคคล

มาตรการภาษีเพื่อกระตุ้นและฟื้นฟูเศรษฐกิจ

ภาษีคณะบุคคล

การบัญชีต้นทุน

รอบระยะบัญชีของการยื่นภาษีเงินได้นิติบุคคล

ผู้มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ

ในการเสียภาษีจะต้องคำนวณภาษีอย่างไร

การควบคุมภายในเกี่ยวกับ การรับเงิน

ภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีการนำสินค้าที่มีไว้เพื่อขายมาใช้เพื่อการประกอบกิจการ

ภาษีเงินได้นิติบุคคล โปรแกรมบัญชี

รวมคำถามที่ถามบ่อย

สิ่งที่ผู้บริหารมือใหม่ควรทราบเป็นเบี้องต้น

จดทะเบียนนิติบุคคลใหม่ มีคนต่างด้าวถือหุ้นอยู่ !!

กรมสรรพากรขยายเวลารับแบบฯ ภาษีเต่างๆสำหรับบุคคลธรรมดาครึ่งปี ให้กับท้องที่ที่เกิดอุทกภัย

กฎหมายออกใหม่ กรกฎาคม 2550

ข้อหารือภาษีอากร

Tax Point จุดรับผิดทางภาษี

คำถามยอดนิยม RMF LTF

การขอคืนภาษี

รอบระยะบัญชีของการยื่นภาษีเงินได้

การจำหน่ายหนี้สูญ

การขอคัดแบบแสดงรายการภาษี

การยกเลิกใบกำกับภาษีฉบับเดิม แล้วออกฉบับใหม่ ทำอย่างไร

การออกใบแทนใบกำกับภาษี ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้

ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเสียภาษีอากร

ทำไม กิจการต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 7.0

การออกใบกำกับภาษี

ผู้มีหน้าที่ออกใบกำกับภาษี

ประเภทของใบกำกับภาษี

การจัดทำใบกำกับภาษีแบบเต็มรูป

สิทธิของผู้เสียภาษี

ใครบ้างที่ต้องเสียภาษี

กิจการที่ได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตามกฎหมาย

ผู้ประกอบการที่ได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตามกฎหมาย แต่สามารถขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม

กำหนดหลักเกณฑ์ สำหรับเงินได้ที่ได้รับจากการขายทรัพย์สินประเภทเครื่องจักร

กรมสรรพากรเตือนบริษัทห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้นิติบุคคลประจำปี

EUออกมาตรการใหม่ ในการเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากการให้บริการ

EUออกมาตรการใหม่ ในการเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากการให้บริการ

EU ออกมาตรการใหม่ในการจัดเก็บ ภาษีมูลค่าเพิ่มจากการให้บริการ ซึ่งมาตรการ ดังกล่าวนั้น รวมถึงการเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์และข้อกำหนดที่เกี่ยวกับสถานที่ให้บริการเพื่อให้สามารถจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากธุรกิจประเภทการบริการได้ โดยให้ประเทศสมาชิกที่ได้รับการบริการเป็นผู้จัดเก็บ ในขณะเดียวกันมาตรการนี้ยังเสนอให้ผู้เสียภาษีซึ่งก็คือผู้ให้บริการนั่นเองสามารถยื่นรายการภาษีมูลค่าเพิ่มที่เกิดขึ้นใน EU ทั้งหมดให้กับสรรพากรของประเทศสมาชิกประเทศใดประเทศหนึ่งเพียงแห่งเดียวเรียกว่า "mini one-stop shop" เพื่อเป็นการลดค่าใช้จ่ายของผู้เสียภาษี

มาตรการภาษีมูลค่าเพิ่มฉบับนี้จะมีผลบังคับใช้ 1 มกราคม พ.ศ. 2553 โดยมีหลักเกณฑ์ที่สำคัญ ดังนี้

• สำหรับการให้บริการระหว่างผู้ประกอบการด้วยกันเอง ภาษีมูลค่าเพิ่มจะถูกจัดเก็บในประเทศที่สถานประกอบการของผู้รับบริการตั้งอยู่และยกเลิกการเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มในประเทศ ที่สถานประกอบการของผู้ให้บริการตั้งอยู่ซึ่ง เป็นหลักเกณฑ์ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน

• สำหรับการให้บริการแก่บุคคลทั่วไป ส่วนใหญ่แล้วภาษีมูลค่าเพิ่มจะยังคงถูกเก็บในประเทศที่สถานประกอบการของผู้ให้บริการตั้งอยู่เช่นที่ปฏิบัติกันในปัจจุบัน

• อย่างไรก็ตาม การให้บริการบางประเภทแก่บุคคลทั่วไปอาจถูกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มในประเทศผู้รับบริการนั้น ทั้งนี้ เพื่อป้องกันการบิดเบือนในด้านการแข่งขันระหว่างประเทศสมาชิกซึ่งมีการเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราที่ แตกต่างกัน การให้บริการที่เข้าหลักเกณฑ์ ดังกล่าว เช่น ภัตตาคาร การเช่ายานพาหนะเพื่อการขนส่ง การวัฒนธรรม การกีฬา การศึกษาและวิทยาศาสตร์ และการสื่อสาร การแพร่ภาพและการบริการทางอิเล็กทรอนิกส์

• นำระบบ "one-stop shop" มาใช้สำหรับการให้บริการด้านการสื่อสาร การแพร่ภาพ และการบริการอิเล็กทรอนิกส์ เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับผู้ประกอบการโดยกำหนด ให้ผู้ประกอบการสามารถจดทะเบียนการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ยื่นรายการและชำระภาษีได้ในประเทศที่ตนจดทะเบียนจัดตั้งสถานประกอบการเพียงประเทศเดียว ดังนั้น แม้ผู้ประกอบการให้บริการในประเทศสมาชิกอื่นๆ ก็ตาม ผู้ประกอบการจะต้องนำรายการภาษีมูลค่าเพิ่มดังกล่าว มายื่นรายการเพื่อเสียภาษีมูลค่าเพิ่มในประเทศ ที่ตนจดทะเบียนนั่นเอง ซึ่งสรรพากรประเทศนั้นๆ จะต้องนำส่งรายได้ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บได้ให้กับประเทศสมาชิกผู้รับการบริการ ทั้งนี้ อัตราภาษีและข้อบังคับต่างๆ ก็ต้องเป็นไปตามกฎหมายของประเทศสมาชิกผู้รับบริการ

• สำหรับการให้บริการแก่บุคคลทั่วไปในส่วนของการจัดหาบริการด้านการสื่อสาร การแพร่ภาพ และการบริการอิเล็กทรอนิกส์ ข้อบังคับใหม่และระบบ "one-stop" จะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 มกราคม 2558 ประเทศสมาชิกที่สถานประกอบการตั้งอยู่จะต้องทำการเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มโดยใช้ระบบ "one-stop shop" และเก็บไว้ส่วนหนึ่งคิดเป็นร้อยละ 30 ของจำนวนภาษีที่จัดเก็บได้ ส่วนที่เหลือจะต้องนำส่งให้กับประเทศสมาชิกผู้รับบริการ สัดส่วนร้อยละ 30 นี้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 มกราคม 2558 ถึง 31 ธันวาคม 2559 จากนั้นจะลดลงเหลือร้อยละ 15 ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2561 และลดลงเหลือร้อยละ 0 ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 เป็นต้นไป

http://www.sanpakornsarn.com

Tags : EUออกมาตรการใหม่ ในการเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากการให้บริการ

view

หน้าแรก

ผลิตภัณฑโปรแกรมบัญชี

Contact Us

view